ศาสนาและปรัชญา
การ์ตูนพุทธประวัติสำหรับยุวชน ภาคประสูติ
พระพุทธเจ้าสอน HOW TO
หากได้กลับมาอยู่กับตัวเองบ้าง. ..ชีวิตก็ย่อมจะมีความสุข... เพราะความทุกข์เป็นเพียงธุลี... ที่ไม่เคยอยู่กับใครได้นาน... ในบางสิ่งที่เราอาจมองข้ามไป... เพราะใจเราไม่เห็น ใครที่มีความทุกข์ ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน มันก็ทุกข์ แต่หากได้อ่านคำสอนของ พระพุทธเจ้าแล้ว ความทุกข์จะลดน้อยลงทันที
โลก กะ ธรรม
“เราจะบรรลุถึงความสมบูรณ์ได้มากแค่ไหนก็อยู่ที่ว่าเรา
เข้าใจความสัมพันธ์และเครือข่ายมากมายมหาศาลที่เชื่อมโยง
โลกทั้งมวลให้รวมกันเป็นหนึ่งเดียวได้มากขึ้นเพียงใด”
จริยศาสตร์ประยุกต์
การรวบรวมนี้เกิดขึ้นจากการศึกษาเอกสาร หนังสือ
งานวิจัยเกี่ยวกับข้องจริยศาสตร์ จริยศาสตร์ประยุกต์
และปัญหาทางจริยศาสตร์ในสังคมปัจจุบัน เป็นการ
รวบรวมถึงลักษณะ สาเหตุ แนวทางแก้ปัญหา อีกทั้ง
ยังรวมถึงประเด็นการโต้แย้ง
พุทธปรัชญาในพระไตรปิฎก
การตั้งคำถามว่าพระพุทธศาสนาและปรัชญานั้นแทบจะ
กลายเป็นปัญหาเปิดฉากในการสอนปรัชญาในมหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย เพราะหาก บอกว่า
พระพุทธศาสนาเป็นปรัชญาก็จะกลายเป็นว่า ปรัชญากำลังทำ
คำสอนในพระไตรปิฎกให้กลายเป็นแค่การโต้เถียงกันเพื่อ
เอาชนะกันเท่านั้น หรือหากพิจารณาว่าเป็นศาสนาก็จะ
กลายเป็นวิถีชีวิตที่เมื่อประสบกับปัญหาในยุคต่างๆ กันจะพูด
กันถึงว่าจะนำพระพุทธศาสนามาช่วยแก้ปัญหาเหล่านี้ได้
อย่างไร
ปรัชญาศาสนา
ถ้าจะมีคำอธิบายดีๆ เราอาจเริ่มด้วยการที่ศาสนาพยายามอธิบายปรากฎการณ์ในชีวิตผ่านเรื่องความดีและชั่วของมนุษย์ว่าเป็นแรงพลักดันในการทำสิ่งต่างๆ
ดังจะเห็นได้จากการสร้างโบสถ์วิหารในโลกนี้ล้วนมาจากศรัทธามากกว่าเน้นการใช้ประโยชน์ รวมถึงจิตรกรรมที่สะท้อนดีชั่วอันเป็นรากฐานที่ศาสนายึดโยงเข้ากับการใช้ชีวิต จนกลายเป็นสิ่งที่คลิฟฟอร์ด เกียร์ซ (Clifford Geertz) นักมนุษยวิทยาเสนอว่าสิ่งเหล่านี้เองที่ส่งผลทั้งในแง่อารมณ์ (moods) และแรงจูงใจ (motivation) สร้างค่านิยมทางสังคม (ethos) หรือโลกทัศน์ (world view) ในมิติที่เราสัมผัสได้
ภาษาศาสนา การอ่านและการตีความคัมภีร์
เมื่อภาษานั้นตกทอดมาจนถึงปัจจุบันด้วยการทรงจำ
บ้าง การบันทึกเป็นอักษรบ้าง การจะเข้าใจจึงเป็นไปตามการ
เรียนรู้และฝึกฝนส่วนตัวที่ผู้ชื่อว่าเข้าใจได้จริงๆ นั้นอาจต้อง
เรียนรู้มากกว่าแค่เข้าใจภาษา แต่รวมถึงบริบทสิ่งแวดล้อม
ต่างๆ ไปพร้อมกัน
ปรัชญาวิเคราะห์: ภาษา, โลก, ความจริง
เราอาจเริ่มต้นจากที่รัสเซลเสนอว่าภาษาจะต้อง
สามารถวิเคราะห์ผ่านตรรกะที่ไม่อาจปฏิเสธได้และต้องสามารถ
ใช้ได้จริง แต่สำหรับภาษาศาสนาที่ไม่อาจตรวจสอบได้เช่น
พระเจ้า นรก สวรรค์ แม้จะมีข้อมูลจำนวนหนึ่งในทางศาสนาที่
ยืนยันถึงความมีอยู่ แต่เมื่อหาข้อยืนยันจากสัมผัสไม่ได้ก็
กลายเป็นการกล่าวที่เกินเลยจากความจริงไป การวิเคราะห์
ภาษาในศาสนาจึงถูกนำเสนอในแง่ของข้อความที่ไม่จริง และ
ปัญหาปรัชญา ปฐมบทแห่งปรัชญา: จากตะวันตกสู่ตะวันออก
มนุษย์คืออะไร เกิดมาทำไม เป็นคำถามที่ชวนให้คนหลายคนพยายามหาคำตอบ
ตั้งแต่อดีตอย่างโพรทาโกรัสนักปรัชญากรีก "มนุษย์เป็นเครื่องวัดพึงพอใจของทุกสิ่ง" หรือ
นักคิดในยุคต่อๆ มาอย่างมาติน ไฮเด็กเกอร์นักปรัชญาชาวเยอรมันกล่าวว่า "การเป็น
มนุษย์คือการสร้างกิจกรรมที่ทำให้เกิดคุณค่าในตัวเอง" แม้แต่ในตะวันออกเองอย่างใน
สมัยพุทธกาล พระพุทธองค์ก็ทรงตั้งข้อสงสัยในเรื่องพื้นฐานว่ามนุษย์คืออะไร และมนุษย์
ต้องทุกข์กับการเกิด แก่ เจ็บ ตายโดยไม่มีทางหลีกเลี่ยงได้เลยหรือ ก่อนจะออกค้นหาสัจ
ธรรมและพิสูจน์คำสอนของอาจารย์สำนักต่างๆ จนกระทั่งพระองค์ค้นพบคำตอบที่ถูกต้อง