การค้าทางเรือสำเภาจีน-สยามยุคต้นรัตนโกสินทร์
การค้าทางเรือสำเภาจีน-สยามยุคต้นรัตนโกสินทร์
การค้าทางเรือสำเภาจีน-สยามยุคต้นรัตนโกสินทร์
หนังสือที่จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจประวัติศาสตร์ ชีวิตชนบท รวมถึงความสำเร็จด้านการพัฒนาของญี่ปุ่นอย่างลึกซึ้ง ประกอบด้วยจุดสำคัญๆ หลายจุดในนโยบายเกษตรและอาหารของญี่ปุ่น และได้กล่าวถึงสิ่งเหล่านี้โดยโยงไปสู่อดีตและปัจจุบัน ในอีกนัยหนึ่ง เนื้อหาหลักของหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยทัศนะเชิงประวัติศาสตร์ของนโยบายเกษตรและอาหารสมัยใหม่ของญี่ปุ่น การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน และข้อเสนอแนะสำหรับอนาคต
หนังสือที่เขียนขึ้นโดยมุ่งหวังจะวิเคราะห์ในเชิงเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับการเกษตรญี่ปุ่น แบ่งเนื้อหาเป็น 2 ภาค ภาคแรก คือ ทฤษฎีพื้นฐาน ซึ่งมีหัวข้อหลักได้แก่ หัวข้อค้นคว้ากับมรรควิธี, พัฒนาการของทุนนิยมกับการเกษตร ส่วนภาคหลัง คือ การวิเคราะห์การเกษตรญี่ปุ่น ซึ่งมีหัวข้อหลักได้แก่ สภาพแวดล้อมของการเกษตรญี่ปุ่น, กิจการเกษตรกับเศรษฐกิจชาวนา, การก่อตัวของราคาผลผลิตการเกษตร, กรรมสิทธิ์ที่ดินกับค่าเช่าที่ดิน, การเงินทางการเกษตรกับการลงทุนจากงบการคลัง, ความปั่นป่วนทางการเกษตรกับการแตกตัวทางชนชั้นของชาวนา
The result of a three-year project involving a combination of prominent ecologists and social scientists, Barriers and Bridges to the Renewal of Ecosystems and Institutions reviews a series of regional examples in its broad-ranging exploration of two key questions: Do institutions learn? and How do ecosystems respond to management actions? The book is a continuation of a series on adaptive environmental management.
From the fifteenth to the eighteenth centuries, the period now know as “the Age of Commerce”, the Thai capital emerged as a flourishing entrepot in Southeast Asia. The kingdom had convenient access, to the Bay of Ben gal and the Coromandel Cost, by the way of Mergui and Tenasserim, and to the great Chinese markets by way of the South China Sea. The capital city was undoubtedly one of the most powerful port-polities in this part of the world
ปฏิวัติสยาม 2475 คือการทำศัลยกรรมเปลี่ยนรูปโฉมการปกครองใหม่ครั้งประวัติศาสตร์ของไทย แม้ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงทัศนคติอันเป็นตัวตนเดิมของเราได้ แต่นี่คือการอ่านการเมืองเพื่อรู้และเลือก ด้วยข้อมูลที่เที่ยงธรรมตรงทางที่สุดฉบับหนึ่ง!
เอกสารประกอบการสัมมนา 60 ปีประชาธิปไตย สิทธิเสรีภาพประชาไทย เรื่อง รัฐธรรมนูญไทย 2475 – 2534 แบ่งเป็น 4 หัวข้อ คือ การศึกษาเชิงประวัติศาสตร์ของรัฐธรรมนูญฉบับต่างๆ, เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยรัฐธรรมนูญ, การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญในประเทศไทย และวิกฤตการณ์รัฐธรรมนูญ 2534
ประวัติศาสตร์การเมืองไทยยุคใกล้ นอกเหนือจากเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 แล้ว เห็นจะไม่มีการเคลื่อนไหวต่อสู้ครั้งใดที่จะมีความหมายและส่งผลกระทบสะเทือนยิ่งใหญ่เทียบเท่าเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 วีรภาพอันโดดเด่นและกล้าหาญของบรรดานักเรียน นิสิต - นักศึกษา และประชาชนนับล้าน ทั้งในกรุงเทพฯ และหัวเมืองใหญ่น้อยทั่วประเทศที่เข้าร่วมการต่อสู้เรียกร้องประชาธิปไตยและคัดค้านอำนาจเผด็จการของรัฐบาลคณาธิปไตยถนอม - ประภาส - ณรงค์ จนที่สุดสามารถขับกลุ่มเผด็จการทรราชออกจากบัลลังก์อำนาจ ที่พวกเขายึดครองและสืบทอดต่อกันมาอย่างเหนียวเเน่นหลายทศวรรษไปได้ จากวันนั้นจนถึงวันนี้ - 30 ปีที่ผ่านพ้น หาไ
“อารยะขัดขืน กับสังคมไทย” บรรยายสาธารณะโดย รศ. ดร. ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เป็นเอกสารวิชาการหมายเลข โครงการ “บรรยายสาธารณะ ตลาดวิชา มหาวิทยาลัยประชาชน 30 ปี 14 ตุลา กับประชาธิปไตย” 2516-2546
หนังสือที่มุ่งศึกษาเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ผ่านสื่อภาพยนตร์ยอดนิยมของไทย โดยมองใน 4 ประเด็น ประเด็นแรก ประวัติศาสตร์กับภาพยนตร์คู่ขัดแย้งที่รักกัน (ไม่) ได้, ประเด็นที่สอง ความหมายและการให้ความหมายภาพยนตร์ 14 ตุลา, ประเด็นที่สาม การเปลี่ยนแปลงเนื้อหาภาพยนตร์ ‘การเมือง’ สู่ ‘การมุ้ง’ และประเด็นสุดท้าย นานาทัศนะของคนเดือนตุลา และนักศึกษายุคหลัง ฮ. นกฮูก ต่อภาพยนตร์ 14 ตุลา