ติวส่วนตัวภาษาไทย เล่ม 1

฿180.00
ISBN: 
9789745209343
สำนักพิมพ์: 
สำนักพิมพ์สูตรไพศาล
SKU: EB21110103
Price: ฿180.00

เตรียมสอบ วิชาภาษาไทย ตามหลักสูตรใหม่
สารบัญ

ประโยค
องค์ประกอบของประโยค
กลุ่มคำหรือวลี
ชนิดของประโยค
ประโยคแสดงเจตนา
ประโยคหลัก และ ประโยคสนับสนุน
ประโยคตรงไปตรงมาและประโยคซับซ้อน
การลำดับคำในประโยค
การเรียงประโยค
ย่อความ
เรียงความ
ข้อบกพร่องทางภาษา
                การใช้คำผิดความหมาย
                กำกวม
                ฟุ่มเฟือย
                คำเชื่อม
                ตารางสรุปวิธีใช้คำเชื่อม
คำ หรือ  กลุ่มคำ
๑ ความหมายของคำและกลุ่มคำ
๒ คำตรงกันข้าม
๓  การใช้คำให้ตรงกับความหมาย
๔  คำที่มีรูป และความหมายใกล้เคียงกัน
๕  คำที่มีความหมายสับสนกัน
๖  คำศัพท์ทางวิชาการ
๗  คำศัพท์อื่น ๆ

การเลือกใช้ คำ หรือ กลุ่มคำ
                ๑  การใช้คำบุพบท
                ๒ การใช้ลักษณะนาม

สำนวน   คำพังเพย   และ สุภาษิต
 ๑  ความหมาย
 ๒  ที่มาหรือมูลเหตุที่ทำให้เกิดสำนวน  คำพังเพย   และสุภาษิต
๓  สำนวน   คำพังเพย   และสุภาษิตที่ออกข้อสอบบ่อย  ๆ
๑  กลุ่มเกี่ยวกับปาก
 ๒  กลุ่มเกี่ยวกับน้ำ
๓  กลุ่มเกี่ยวกับการพูด
๔  กลุ่มเกี่ยวกับหน้า
๕  กลุ่มเกี่ยวกับพวกสองใจ
๖  กลุ่มเกี่ยวกับยากจนเข็ญใจ
๗  กลุ่มเกี่ยวกับความไม่เหมาะสม
๘  กลุ่มเกี่ยวกับความไม่เจียมตัว
๙  กลุ่มเกี่ยวกับการทำอะไรลวก ๆ  ทำอะไรไม่จริงจัง
๑๐  กลุ่มเกี่ยวกับความร้ายพอ  ๆ  กัน
๑๑  กลุ่มเกี่ยวกับความยากเย็นแสนเข็ญ
๑๒  กลุ่มเกี่ยวกับการแส่หาเรื่องเดือดร้อน
๑๓  กลุ่มเกี่ยวกับความร้อนตัว
๑๔  กลุ่มเกี่ยวกับเรื่องยาก ๆ
๑๕  กลุ่มเกี่ยวกับการขู่   การประชด
๑๖  กลุ่มเกี่ยวกับการกระทำเป็นไม่สนใจ
๑๗  กลุ่มเกี่ยวกับสีขาว
๑๘  กลุ่มเกี่ยวกับผลกรรม
๑๙  กลุ่มเกี่ยวกับการรับเคราะห์
๒๐  กลุ่มเกี่ยวกับฝ่ายตรงข้าม
๒๑  กลุ่มเกี่ยวกับคำว่า  “สาแหรก ”   และคำว่า  “บ้านแตก ”
๒๒  กลุ่มเกี่ยวกับ “ กินกงสี ” 
๒๓  กลุ่มเกี่ยวกับโอกาส
๒๔  กลุ่มเกี่ยวกับความคิด
 ๒๕  กลุ่มเกี่ยวกับความฟุ่มเฟือยโดยใช่เหตุ
๒๖  กลุ่มเกี่ยวกับการจับโน่นชนนี้
๒๗  กลุ่มเกี่ยวกับความไม่หวังดี
๒๘  กลุ่มเกี่ยวกับคำว่า  “ เบี้ย  ”
๒๙  กลุ่มเกี่ยวกับคนฉลาด
๓๐  กลุ่มสำนวนอื่น  ๆ  ( เฉพาะที่ออกบ่อย  ๆ )

สำนวนไทย ตามพยัญชนะ ก - ฮ
การใช้คำเกี่ยวกับการเปรียบเทียบ
การเลือกใช้คำให้เหมาะสม
ระดับภาษาและราชาศัพท์
๑  ระดับภาษาต่าง ๆ
๑.๑  ภาษาระดับพิธีการ
๑.๒  ภาษาระดับทางการ
๑.๓  ภาษาระดับกึ่งทางการ
๑.๔  ภาษาระดับสนทนา
๑.๕  ภาษาระดับกันเอง

๒  คำราชาศัพท์
ลำดับพระราชวงศ์
การใช้ราชาศัพท์ที่ควรสังเกต

เครื่องหมายวรรคตอน
๑  ไม้ยมก ( ๆ )
๒  ไปยาลน้อย  ( ฯ ) 
๓  ไปยาลใหญ่  (ฯลฯ)  ละ ,  และอื่น ๆ
๔  ยัติภังค์   ( - ) 
๕   วงเล็บ  หรือ  นขลิขิต  (       )
๖   อัศเจรีย์  ( ! )
๗  อัญประกาศ    ( “     ” )
๘   จุดไข่ปลา  (.......)

ข้อสอบ  ภาษาไทย 300 ข้อ
เฉลยข้อสอบ  ภาษาไทย
กระดาษคำตอบ

หนังสือที่เกี่ยวข้อง : ติวส่วนตัว ภาษาไทย เล่ม 2 ตะลุยข้อสอบ 1,000 ข้อ