กฏหมาย
ประมวลรัษฎากร ปี 2564
กฎหมายแรงการเกี่ยวกับการเลิกจ้าง (พิมพ์ครั้งที่ 10)
บทสรุป PDPA กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
คำบรรยาย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ปรับปรุงใหม่สุด เล่ม 1
ประมวลรัษฎากร ปี 2563
ฎีกา ประมวลกฎหมายที่ดิน คดีที่ดิน (ป.ที่ดิน) ศึกษาจากคดีจริง ที่ถูกตัดสินมาแล้ว รวม 457 ฎีกา
พระราชบัญญัติธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ปรับปรุงใหม่ ๒๕๖๓
Q&A ตอบข้อสงสัยกฎหมายแรงงาน ลากิจ ลาป่วย ลาพักร้อน
สิทธิ์ในการลาตามกฎหมายแรงงาน คือสิทธิพื้นฐานสำหรับลูกจ้างในทุกสถานประกอบการ แต่หากลูกจ้างขอ “ลาไปทำศัลยกรรม” จะถือว่าเป็นการลากิจหรือลาป่วย คือตัวอย่างการลาที่น่าปวดหัวสำหรับฝ่าย HR และเจ้าของกิจการ เพราะไม่รู้จะตัดสินใจอย่างไร และในความเป็นจริง การลางานที่ดูเหมือนจะเป็นเรื่องเล็ก แต่บางครั้งกลับสร้างความขัดแย้งในหน่วยงานหรือองค์กรได้ จึงคัดเลือกประเด็นข้อสงสัยในเรื่องการลากิจ ลาป่วย และลาพักร้อนที่น่าสนใจมาอธิบายด้วยกฎหมายแรงงาน ตัวอย่างเช่น
การละเมิดลิขสิทธิ์ คดีศึกษาว่าด้วยสิทธิโดยธรรม เล่ม ๒
การละเมิดลิขสิทธิ์เป็นหลักแห่งกฎหมายว่าด้วยการที่บุคคลอื่นเข้าใช้โดยไม่ชอบธรรมซึ่ง
งานของบุคคลหนึ่ง การใช้อย่างเป็นธรรม ก็จะเป็นข้อยกเว้น (exception) หรือความเป็น
อิสระจากกฎข้อบังคับ (exemption) ของการละเมิดลิขสิทธิ์ หรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็น
สิ่งที่กฎหมายอนุญาตให้ทําได้ โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของงานอันมีลิขสิทธิ์
เป็นพื้นที่อันเป็นที่ขัดใจของเจ้าของงานอันมีลิขสิทธิ์ แต่เป็นพื้นที่อันเป็นที่พึงใจของ
สาธารณชน โดยเฉพาะผู้ที่ประสงค์จะใช้งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลหนึ่ง เพื่อการผลิตงาน