กฏหมาย
รวมคดีส่วนท้องถิ่น
ย่อหลักกฎหมายมรดก ตาม ป.แพ่ง บรรพ 6
กฎหมายลักษณะมรดกเป็นจารีตประเพณีของคนไทยมาแต่โบราณ คนไทยจะสะสมทรัพย์สินของตนไว้เพื่อเป็นมรดกของลูกหลาน ต่อ ๆ กันมา
จนวงศ์ตระกูลมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ จนกระทั่งมีการตรา พ.ร.บ. ให้ใช้บทบัญญัติบรรพ ๖ แห่ง ป.พ.พ. พ.ศ. ๒๔๗๗ ขึ้นใช้บังคับ
ย่อหลักกฎหมายครอบครัว ตาม ป.แพ่ง บรรพ 5
พระราชบัญญัติรถยนต์ ฉบับสมบูรณ์ ใหม่สุด
ภาค ๑ ฐานความผิดฯ กฎหมายรถยนต์
ภาค ๒ พระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ.๒๕๒๒ ปรับปรุงใหม่สุด
พร้อมจับประเด็นใจความสำคัญทุกมาตรา
หมวด ๑ การจดทะเบียน เครื่องหมายและการใช้รถ
หมวด ๒ ภาษีประจำปี
หมวด ๓ ใบอนุญาตขับรถ
หมวด ๔ บทกำหนดโทษ
- บทเฉพาะกาล
- อัตราค่าธรรมเนียม
- อัตราค่าภาษีประจำปี
ภาค ๓ กฎกระทรวง ๓ ยุค แก้ไขลงตัวแล้ว รวม ๓๔ ฉบับ
ประมวลฎีกาสงฆ์ (รวมคดีสงฆ์)
ประกอบด้วยฎีกา
- พระราชบัญญัติคณะสงฆ์
- พระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ.๑๒๑
- ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
- ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
- ประมวลกฎหมายอาญา
- ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
- พระราชบัญญัติรับราชการทหาร ฯ
- พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ.๒๔๘๒
- ประมวลรัษฎากร
- ประมวลกฎหมายที่ดิน
- ดัชนีค้นหา
ประมวลกฎหมายที่ดิน แปลไทย-อังกฤษ รวม 5 ฉบับ
ประมวลกฎหมายที่ดิน ฉบับสมบูรณ์ ใช้งานง่าย ค้นไว รู้เร็ว จำแม่น ปรับปรุงใหม่
ประมวลกฎหมายที่ดิน ฉบับสมบูรณ์ ใช้งานง่าย ค้นไว รู้เร็ว จำแม่น ปรับปรุงใหม่
ประกอบด้วย
1. ประมวลกฎหมายที่ดิน
2. กฎกระทรวง
3. ระเบียบปฏิบัติ
4. ประกาศบังคับ
5. ดรรชนีค้น
ที่หรือทางสาธารณะ ทางจำเป็น ภาระจำยอม (พิมพ์ครั้งที่ 3)
ที่หรือทางสาธารณะ ทางจำเป็น ทางภาระจำยอม สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ทรัพย์สินของแผ่นดิน หนังสือเล่มนี้ เป็นการรวบรวมเรื่องเกี่ยวกับถนนหนทาง
ที่มักเกิดปัญหาเป็นถ้อยร้อยความกันบ่อย ๆ ที่ดินที่เกี่ยวข้องกับถนนหนทาง ก็มักเป็นเรื่องเกี่ยวกับ ทางสาธารณะ ที่สาธารณประโยชน์
ทางจำเป็นและทางภาระจำยอม ผู้รวบรวมมีเจตนารมณ์เพียง รวบรวมหลักกฎหมายประกอบคำพิพากษาศาลฎีกาที่เกี่ยวข้องมาไว้ในที่เดียวกัน
เพื่อสะดวกแก่ผู้ที่ต้องการใช้ และพยายามใช้ถ้อยคำธรรมดาที่ผู้ที่ไม่ได้เป็นนักกฎหมายสามารถเข้าใจได้ เว้นแต่เป็นศัพท์ทางกฎหมายที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้
ฎีกา ป.วิแพ่ง เรียงมาตรา พ.ศ.๒๕๔๘ - ๒๕๕๕
เหมาะสำหรับนักเรียน นักศึกษา นักกฎหมายที่กำลังศึกษาคำพิพากษาฎีกา และผู้สนใจทั่วไปใช้อ่านเป็นประโยชน์ได้ความรู้อย่างยิ่ง
ใช้ในงานเปรียบเทียบคดี และใช้สอบ วินัย หนูโท และ อรรถชาต์ สินไชย ผู้พิพากษา คำพิพากษาศาลฎีกาเป็นคำพิพากษาของศาลยุติธรรมชั้นสูงสุด
ซึ่งถือเป็น บรรทัดฐานในการวินิจฉัยและตีความกฎหมาย หนังสือฎีกาใหม่ ป.แพ่ง เล่มนี้ ได้รวบรวมคำพิพากษาศาลฎีกาใหม่ ๆ จนถึงปัจจุบัน
ซึ่งวางหลักข้อกฎหมายที่สำคัญ ผู้รวบรวมเห็นว่าเหมาะแก่การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมนอกเหนือจากตัวบทกฎหมาย