สายธารประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยไทย ชุด 14 ตุลาคม 2516
14 ตุลา บันทึกประวัติศาสตร์ โดยคณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ ในคณะกรรมการจัดงาน 30 ปี 14 ตุลาคม รัฐสภา ร่วมกับมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
14 ตุลา บันทึกประวัติศาสตร์ โดยคณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ ในคณะกรรมการจัดงาน 30 ปี 14 ตุลาคม รัฐสภา ร่วมกับมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
สังคโลก-สุโขทัย-อยุธยากับเอเชีย
วิทยานิพนธ์ที่เสนอต่อ มหาวิทยาลัยคอร์แนล ที่ได้รับการยกย่องชมเชยจากนักวิชาการชาวต่างประเทศและชาวไทยว่าดีเด่นเล่มนี้ ว่าด้วยเรื่องการศึกษาถึงการจัดระเบียบสังคมไทย ซึ่งเน้นไปในด้านการจัดแบ่งชั้นและการเขยิบฐานะทางสังคม ระหว่างปี พ.ศ.2325-2416 ยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น เริ่มตั้งแต่รัชกาลที่หนึ่งทรงขึ้นครองราชย์สมบัติจนถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระชนมายุครบ 12 พรรษา
สารบัญ : บทที่ 1 สภาพทั่วๆ ไป : เศรษฐกิจและสังคมชนบทสยามกลางพุทธศตวรรษที่ 24 ถึงกลางพุทธศตวรรษที่ 25 | บทที่ 2 ดินแดนใหม่สำหรับการเพาะปลูก : การปรับปรุงที่ดินโดยเอกชนและรัฐ | บทที่ 3 สังคมชนบท : การตั้งถิ่นฐานในเขตชานเมืองและกรณีพิพาทเกี่ยวกับที่ดินในช่วงทศวรรษ 2433 | บทที่ 4 สังคมชนบท : ปัญหาเกี่ยวกับอาชญากรรมและการปล้นสะดม | บทที่ 5 พัฒนาการของเศรษฐกิจการผลิตข้าวเพื่อการค้า : ปัญหาเกี่ยวกับที่ดิน แรงงาน และทุน | บทที่ 6 ทศวรรษ 2433 : คนไทยและคนจีนในระบบเศรษฐกิจแบบเปิดกว้าง | บทที่ 7 ภาวะเศรษฐกิจถดถอยระหว่างปี 2448-2455 | บทที่ 8 รัฐบาลกับการเกษตร : การทดลองเล่นกับการดำเนินกิจกรรม พ.ษ.
สารบัญ บทที่ 1 การค้าภาครัฐสมัยสุโขทัย : "การค้าเสรี" มีหรือ? - การค้าสังคโลก | บทที่ 2 กำเนิดอยุธยา พ.ศ.1893 - การตั้งชุมชน "อโยธยา" ที่จะกลายมาเป็นอยุธยา - ละโว้-อโยธยา-อยุธยา - ลักษณะทวิภาคของอยุธยา : ราชธานีและเมืองท่า - อยุธยา-ทิศตะวันออก/ทิศตะวันตก-อินเดียกับจีน - การค้าต่างประเทศ-ผู้ประกอบการจีน - ระบบบรรณาการ และการ "จิ้มก้อง" - กรมพระคลังกับการผูกขาดการค้า - กรมท่าซ้าย-ขวา-กลาง | บทที่ 3 การค้าภาครัฐ "ก่อนสมัยใหม่" ยุคสุดท้าย - "ส่วย" กับสินค้าออก - ปัจฉิมลิขิต
จินตนาการของนักเขียนเรื่องบันเทิงคดีผู้มีผลงานต่อเนื่องยาวนานสามสิบปี คือ “ป.อินทปาลิต” ที่เขียนบรรยากรุงเทพในยุค พ.ศ. 2550 ไว้ใน “สามเกลอ พล นิกร กิมหงวน” ตอน “ไปสู่อนาคต”
บทศึกษานี้เป็นรายงานวิจัยส่วนหนึ่งในชุดโครงการวิจัย “พัฒนาการสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย” พร้อมด้วยบทผนวกของ ประภาภัทร นิยม และ “กลุ่มศึกษาปัญหาสลัม”
หนังสือเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยประเทศด้อยพัฒนา เป็นหนังสือที่เขียนด้วยภาษาง่ายๆ เหมาะแก่ผู้ที่ไม่มีความรู้ทางเศรษฐศาสตร์มาก่อนศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับสภาพและปัญหาต่างๆ ของประเทศด้อยพัฒนาแล้ว ยังสามารถใช้เป็นคู่มือสำหรับการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นทุกแขนงได้อย่างดีอีกด้วย
ตำราเศรษฐศาสตร์ มหภาค 2 เล่มนี้ ผู้เรียบเรียงได้เรียบเรียงขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียน การสอนวิชาเศรษฐศาสตร์ มหภาค 1 ของนักศึกษาระดับอนุปริญญา และระดับปริญญาตรี โดยมีเนื้อหาสาระประกอบด้วย ความรู้ทั่วไปทางเศรษฐศาสตร์มหภาค รายได้ประชาชาติ พฤติกรรมส่วนรวมของการบริโภค การออม การลงทุน บทบาทของรัฐ รายได้ รายจ่ายของรัฐบาล ภาวะเงินเฟ้อ ภาวะเงินฝืด นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง วัฏจักรธุรกิจ การเงิน การธนาคาร การคลัง การค้าระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ