การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และสามเหลี่ยมทองคำ
เอกสารประกอบสัมมนา หัวข้อ ภูมิภาคลุ่มน้ำโขง: จดหมายเหตุ ประวัติศาสตร์ นิเวศวิทยา ชาติพันธุ์
เอกสารประกอบสัมมนา หัวข้อ ภูมิภาคลุ่มน้ำโขง: จดหมายเหตุ ประวัติศาสตร์ นิเวศวิทยา ชาติพันธุ์
หนังสือที่เน้นในสาระที่เกี่ยวกับระบบและการทำงานของการเงินและการธนาคารในประเทศไทย โดยการถ่ายทอดจากความรู้จากการศึกษา และประสบการณ์จากการทำงานในธนาคารแห่งประเทศไทยตลอดระยะเวลา 7 ปีที่ผ่านมาของผู้เขียน รวมถึงบรรยายเกี่ยวกับทฤษฎีและแนวความคิดเกี่ยวกับการเงิน ตั้งแต่สมัยคลาสสิคมาจนถึงปัจจุบัน นอกเหนือจากการบรรยายให้เห็นหลักเกณฑ์ที่ใช้ปฏิบัติในประเทศไทย และการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานต่างๆ แล้ว ยังกล่าวถึงการศึกษาในเชิงเปรียบเทียบการปฏิบัติกับทฤษฎี และหลักเกณฑ์ระหว่างประเทศอีกด้วย
หนังสือที่อธิบายถึงระบบการเงินของญี่ปุ่นให้แก่ผู้ไม่มีความเชี่ยวชาญหรือบรรยายที่มหาวิทยาลัยโตเกียว หรือทำให้เกิดความสนใจแก่บรรดาผู้อ่านทั่วโลก โดย Yoshio Suzuki นำเอาผลงานที่เขาได้ทำในฐานะนักเศรษฐศาสตร์อาวุโสของธนาคารชาติญี่ปุ่น และภาพกว้างๆ ของนักเศรษฐศาสตร์ชั้นนำที่นำเอาทฤษฎีทางการเงินทั่วไป และคุ้นเคยอย่างดีกับสถาบันการเงินและธนาคารกลางในประเทศอื่นๆ
การเคลื่อนย้ายของฃาติพันธุ์มอญจากรามัญประเทศสู่สยามประเทศ
สารบัญ : วิเคราะห์หลักฐานจากเรือสินค้าโบราณ 3 ลำ : เพ็ญศักดิ์ จักษุจินดา โฮวิทซ์ | การขุดสำรวจเรือสำเภาสัตหีบ พ.ศ.2520 : นคร อรัณยะนาค | ปัญหาการกำหนดอายุและสัญชาติเรือสำเภาที่อ่าวสัตหีบ : เพ็ญศักดิ์ จักษุจินดา โอวิทซ์ - ประเสริฐ ณ นคร - สืบแสง พรหมบุญ - ชาญวิทย์ เกษตรศิริ | เส้นทางเดินเรือของไทยสมัยสุโขทัยและสมัยอยุธยาตอนต้น : ชาญวิทย์ เกษตรศิริ - ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม - เพ็ญศักดิ์ จักษุจินดา โฮวิทซ์ | ปัญหาการเร่ิมต้นและการสิ้นสุดของการค้าสังคโลก : ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม - สืบแสง พรหมบุญ | ปัญหาและอนาคตของโบราณคดีใต้น้ำในประเทศไทย : ม.จ.สุภัทรดิศ ดิศกุล - ประเสริฐ ณ นคร - เพ็ญศักดิ์ จักษุจินดา
การค้าทางเรือสำเภาจีน-สยามยุคต้นรัตนโกสินทร์
หนังสือที่จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจประวัติศาสตร์ ชีวิตชนบท รวมถึงความสำเร็จด้านการพัฒนาของญี่ปุ่นอย่างลึกซึ้ง ประกอบด้วยจุดสำคัญๆ หลายจุดในนโยบายเกษตรและอาหารของญี่ปุ่น และได้กล่าวถึงสิ่งเหล่านี้โดยโยงไปสู่อดีตและปัจจุบัน ในอีกนัยหนึ่ง เนื้อหาหลักของหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยทัศนะเชิงประวัติศาสตร์ของนโยบายเกษตรและอาหารสมัยใหม่ของญี่ปุ่น การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน และข้อเสนอแนะสำหรับอนาคต
หนังสือที่เขียนขึ้นโดยมุ่งหวังจะวิเคราะห์ในเชิงเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับการเกษตรญี่ปุ่น แบ่งเนื้อหาเป็น 2 ภาค ภาคแรก คือ ทฤษฎีพื้นฐาน ซึ่งมีหัวข้อหลักได้แก่ หัวข้อค้นคว้ากับมรรควิธี, พัฒนาการของทุนนิยมกับการเกษตร ส่วนภาคหลัง คือ การวิเคราะห์การเกษตรญี่ปุ่น ซึ่งมีหัวข้อหลักได้แก่ สภาพแวดล้อมของการเกษตรญี่ปุ่น, กิจการเกษตรกับเศรษฐกิจชาวนา, การก่อตัวของราคาผลผลิตการเกษตร, กรรมสิทธิ์ที่ดินกับค่าเช่าที่ดิน, การเงินทางการเกษตรกับการลงทุนจากงบการคลัง, ความปั่นป่วนทางการเกษตรกับการแตกตัวทางชนชั้นของชาวนา
The result of a three-year project involving a combination of prominent ecologists and social scientists, Barriers and Bridges to the Renewal of Ecosystems and Institutions reviews a series of regional examples in its broad-ranging exploration of two key questions: Do institutions learn? and How do ecosystems respond to management actions? The book is a continuation of a series on adaptive environmental management.
From the fifteenth to the eighteenth centuries, the period now know as “the Age of Commerce”, the Thai capital emerged as a flourishing entrepot in Southeast Asia. The kingdom had convenient access, to the Bay of Ben gal and the Coromandel Cost, by the way of Mergui and Tenasserim, and to the great Chinese markets by way of the South China Sea. The capital city was undoubtedly one of the most powerful port-polities in this part of the world