สังคมศาสตร์
การเปลี่ยแปลงทางเศรษฐกิจกับปัญหาสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
บทศึกษาเรื่องนี้เป็นรายงานวิจัยส่วนหนึ่งในชุดโครงการ ‘พัฒนาการสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย’ โดยมีความมุ่งหมายสำคัญ 2 ประการ ประการแรก คือ มุ่งให้เป็นการวิเคราะห์อธิบายสภาวะเปลี่ยนแปลงขั้นโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งจะเป็นผลกระทบต่อระบบสัมพันธภาพทางสังคม-การเมือง อันเคยมีมาแต่อดีต ประการที่สอง เพื่อเน้นถึงความสำคัญของมิติด้านเศรษฐกิจ-สังคม ในปัญหาสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของชนชั้นผู้นำไทยตั้งแต่รัชกาล๔-พ.ศ.๒๔๗๕
การประถมศึกษาในชนบทไทย
เป็นรายงานวิจัยส่วนหนึ่งในชุดโครงการวิจัย “พัฒนาการสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย” การประถมศึกษามีส่วนเกี่ยวข้องอย่างไรสำคัญต่อปัญหาสิทธิทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
การปฏิวัติสยาม พ.ศ.2475
ประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยที่ศึกษาการเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายม 2475 ซึ่งเริ่มผลิตขึ้นในทศวรรษ 2510 นั้น ถูกครอบงำด้วยแนวคิด “ชิงสุกก่อนห่าม” แนวความคิด “ปฏิปักษ์ปฏิวัติ” ดังกล่าวยังคงดำรงฐานะครอบงำความรู้สึกนึกคิดทางการเมืองกระแสหลักของสังคมมาจนปัจจุบัน "การปฏิวัติสยาม พ.ศ.
การปกครองและการบริหารของไทยสมัยโบราณ
หนังสือเล่มนี้มีความพิเศษประการแรกคือ ผู้เขียนได้เสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไทยในอดีตตั้งแต่สมัยสุโขทัยตลอดมาจนถึงสมัยตอนต้นรัชกาลที่ 5 โดยอาศัยหลักฐานทางประวัติศาสตร์เท่าที่จะหาได้ในขณะนั้นในทัศนะที่แตกต่างไปจากนักประวัติศาสตร์ร่วมสมัยเดียวกันคนอื่นๆ ซึ่งข้อเสนอแนะของผู้เขียนดูออกจะเป็นการท้าทายความนึกคิดของนักวิชาการไทยในสมัยปัจจุบันเป็นอย่างยิ่ง ประการที่สอง การที่ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้เป็นผู้ที่มีความรู้และมีประสบการณ์มามาก และได้ใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่งในชีวิตเข้ามาศึกษาค้นคว้าเรื่องราวต่าง ๆ ในประเทศไทย ตลอดระยะเวลาดังกล่าว ผู้เขียนได้พยายามค้นคว้าหาห