ศาสนาและการเมืองในประวัติศาสตร์สุโขทัย-อยุธยา (พ.2)
เรื่องราวต่างๆ ในบทความแต่ละเรื่องให้ภาพโดยรวมของแคว้นสุโขทัยเมื่อแรกตั้งเมืองสุโขทัยขึ้นมาจนถึงการเคลื่อนย้ายลงมาสถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้น
เรื่องราวต่างๆ ในบทความแต่ละเรื่องให้ภาพโดยรวมของแคว้นสุโขทัยเมื่อแรกตั้งเมืองสุโขทัยขึ้นมาจนถึงการเคลื่อนย้ายลงมาสถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้น
กว่าสองวัฒนธรรม “ไทย-จีน” จะหล่อหลอมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและอยู่ร่วมกันได้ต้องใช้เวลา หนังสือเล่มนี้จะบอกเล่าเรื่องราวการผสมผสานซึ่งกันและกันระหว่างวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมจีนอย่างสนิทแนบแน่น
ผู้เขียนยกข้อความหรือข้อเขียนสำคัญ ในเจ้านายบางพระองค์แล้วอธิบายถึงอารมณ์และความรู้สึกต่างๆ ซึ่งจะสะท้อนถึงรายละเอียดเหตุการณ์ นิสัยใจคอ ความนึกคิดของผู้พูด อันจะนำไปสู่เหตุผลหรือต้นสายปลายเหตุของการกระทำที่เกิดขึ้นในครั้งนั้น
รวมบทความของอาจารย์นิธิ เอียวศรีวงศ์ วิเคราะห์ถึงการเมืองของประวัติศาสตร์ พยายามชี้ให้เห็นความยอกย้อนของเงื่อนไขบริบทแวดล้อมของการเขียน การใช้ และการรับรู้ประวัติศาสตร์
วัดร้าง ไม่เพียงเป็นศาสนาสถานที่มีแต่ซากปรักหักพัง หากแต่ยังเป็นเสมือนพื้นที่ความทรงจำของชุมชนโบราณในย่านบางกอก ในแผนที่กรงเทพฯ เก่า มีรายชื่อวัดจำนวนไม่น้อยที่หายไปจากพื้นที่จริงในปัจจุบัน วัดเหล่านี้หายไปไหน? รวมสืบค้นไปกับผู้เขียน เพื่อย้อนหาชุมชนในอดีตที่มีส่วนสำคัญยิ่งต่ออนาคต
วิเคราะห์เจาะลึก มองทะลุอนาคต ย้อนย้ำให้เห็นพัฒนาการการเมืองระบบทักษิณ ตั้งแต่เริ่มตั้งเค้าคุกรุ่นจนกระทั่งเกรียมจัดจนเผาไหม้ตัวเอง
นวนิยายสะท้อนอุดมการณ์ของหญิงสาวที่ถืออุดมคติเหนือความรัก ความรักของวัลยาจึงเสียสละได้เพื่อคนทั้งโลก “นกมันอาจร้องเพลงเมื่อใดก็ได้เมื่อมันอยากจะร้อง เมื่อมันอยู่กับคู่ของมัน โดยไม่คำนึงถึงความทุกข์ยากของนกอื่นๆ แต่คนเราจะทำเช่นนั้นอย่างไรได้ เราจะร้องเพลงแห่งความสำราญได้อย่างไรในเมื่อชีวิตของคนเราส่วนใหญ่ยังอยู่ในความทุกข์ คนอื่นเขาอาจจะทำได้ แต่ดิฉันทำไม่ได้หรอก”
รวมบทความเกี่ยวกับลัทธิพิธี ร.5 ปรากฏการณ์ทางสังคมสะท้อนอะไรเกี่ยวกับสังคมไทยบ้าง
“...อาจเป็นคำตอบอีกคำถามหนึ่งเรื่องที่มาของสมเด็จพระเจ้าอู่ทองผู้สถาปนากรุงศรีอยุธยาเสด็จมาจากไหน...”-ศักดิ์ชัย สายสิงห์
หนังสือเล่มนี้ได้หยิบยกเรื่องเล่าเฉพาะเรื่องส่วนพระองค์ ไม่ว่าจะเป็นสุข ทุกข์ สนุกสนาน เบื่อ รำคาญ ฟ้าฝน หนาวร้อน อาบน้ำ หลับนอน อาหารเสวย ผลไม้โปรดปราน คิดถึงบ้าน และพระอาการประชวร เป็นต้น สำนวนที่ทรงใช้เล่าก็เป็นสำนวนที่ทรงใช้เฉพาะกับผู้คุ้นเคยสนิทสนม จึงบอกทั้งพระอุปนิสัย แฝงทั้งความในพระทัยและพระอารมณ์ขัน