ท่าเรือเชียงแสน
ท่าเรือเชียงแสน
ท่าเรือเชียงแสน
จากต้นบทร่างของ คำสิงห์ ศรีนอก หรือ "ลาวคำหอม" นักเขียนซีไรต์ เจ้าของผลงานรวมเรื่องสั้น "ฟ้าบ่กั้น" "ทองปาน" เป็นเรื่องราวของชาวนายากจนในภาคอีสาน ที่ทั้งลูกและเมียถูกบีบบังคับให้ต้องทิ้งที่นาซ้ำสอง ด้วยข้ออ้าง "จำยอม" ของการสร้างเขื่อนเพื่อการพัฒนาตามนโยบายของรัฐบาลและมหาอำนาจ
ประวัติศาสตร์ทฤษฎีการเมืองตะวันตก ได้จัดทำฉบับแปลขึ้นเพื่อประโยชน์ในการศึกษาเรียนรู้และเชื่อมสายสัมพันธ์ทางปัญญาระหว่างตะวันตกและตะวันออก
สารบัญ : บทที่ 1 (1) ประวัติศาสตร์คนไต (2) กล่าวถึงเรื่องเชื้อชาติไต-ตำนานและประวัติศาสตร์ (3) ไตเป็นชาชาติที่เก่าแก่มากและรุ่งเรืองมาเท่าไร (4) หลักฐานเรื่องเชื้อชาติไตในสมัยก่อนนั้น | บทที่ 2 (1) อาณาจักรไตสมัยน่านเจ้า - ลำดับพระเจ้าแผ่นดินสมัยเมืองน่านเจ้า (2) เรื่องไตอพยพจากเหนือลงมาใต้ - ข้อรุปเรื่องราวของชนชาติไต (3) ที่อยู่ของคนไตปัจจุบัน - ไตสยามหรือเมืองไตในปัจจุบัน - ข้อความอันว่าไต ไทยสยามนั้น (4) เรื่องไตแยกเป็นหลายพวก
ญี่ปุ่นสมัยโชวะ ประวัติศาสตร์บอกเล่าจากพ่อสู่ลูก ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยโชวะพร้อมพรั่งไปด้วยบทเรียนสอนใจจำนวนมากมาย สมัยนี้ประกอบไปด้วยเรื่องราวทั้งมวลในประวัติศาสตร์ มนุษยชาติ มีทั้งการสงคราม การพ่ายแพ้สงคราม ยิ่งกว่านั้นยังมีการยึดครอง การก่อการร้าย ความวุ่นวายจากการปฏิวัติ การอดอยาก จนกระทั่งการขาดแคลนอาหาร สิ่งสำคัญสำหรับพวกเราคือ การพยายามเรียนรู้บทเรียนจากประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยโชวะอย่างอ่อน น้อมถ่อมตน หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือเขียนเล่าจากมุมมองส่วนตัวของข้าพเจ้า เพื่อถ่ายทอดแก่ลูกหลานว่า ควรจะมองประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยโชวะ อย่างไร ข้าพเจ้าเขียนด้วยความมุ่งหวังที่จะให้รุ่นลูกของข้า
ข้าพเจ้าได้ใช้ชีวิตราชการที่ตำบลคาสุมิงาเซกิ (ที่ตั้งของสถานที่ราชการญี่ปุ่นกลางกรุงโตเกียว) เป็นเวลากว่า 30 ปี จนกระทั่งเกษียณอายุราชการเมื่อเดือนกรกฎาคมปี 1997 สิ่งที่ข้าพเจ้าประสบและเรียนรู้ในเวลานั้นคือโลกเรากำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ข้าพเจ้าได้พยายามมองและคำนึงถึงบทบาทของญี่ปุ่นจากมุมเล็กๆ มุมหนึ่งในตำบลคาสุมิงาเซกิ ว่าควรเป็นอย่างไรในโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเช่นนี้ สงครามเย็นที่สิ้นสุดลงเมื่อสิบปีก่อนหน้านี้เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้โลกมีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างอย่างรวดเร็ว กล่าวคือ ส่งผลให้โลกเปลี่ยนไปยมรับเอาการปกครองแบบประชาธิปไตยเป็นแม่แบบ และแต่ละประเทศก็ยังได้นำเอ
สารบัญ
- สมมุติฐานเบื้องต้นเสียน คือสุโขไทย กับเสียน คืออยุธา โดยศึกษาวิเคราห์จากศิลาจารึกหลัก 11 : อิชิอิ โยเนะโอะ (เขียน) อาทร ฟุ้งธรรมสาร (แปล)
- กฎหมายโบราณของลาวกับอีสานของไทย : โยชิกาว่า โทชิฮารุ (เขียน) อาทร ฟุ้งธรรมสาร (แปล)
- แหล่งกำเนิดและการแพร่กระจายของข้าวที่ปลูกในทวีปเอเชีย : วาตาเบะ ทาดาโยะ (เขียน) สมศรี พิทยากร (แปล)
- สัมพันธมิตรไทย-ญี่ปุ่นกับชาวจีนในประเทศไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง : เออิจิ มูราชิมา (เขียน) นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ และ เออิจิ มูราชิมา (แปล)
สารบัญ บทที่ 1 บทนำ | บทที่ 2 ภูมิหลังของการฟื้นฟูสมัยเมอิจิ | บทที่ 3 สมัยฟื้นฟู | บทที่ 4 การปรับปรุงเป็นประเทศอุตสาหกรรมสมัยแรกฯ | บทที่ 5 การวางรากฐานเกี่ยวกับที่ดินไร่นาและผลทางสังคมที่ตามมา | บทที่ 6 พรรคและการเมือง | บทสรุป
สารบัญ อาทิ : บทนำ:เงามืดที่ครอบคลุมญี่ปุ่นตอนปลาย ศ.20 | บทที่ 1 ญี่ปุ่นบนขอบปากเหวลึก - หวนกลับไปสำรวจสภาพเศรษฐกิจถดถอยในปี 1990 - การล่มสลายของระบบการเมืองในปี 1955 กับความยุ่งเหยิงทางการเมือง - อวสานของการจ้างงานถาวร | บทที่ 2 หลักการและยุทธศาสตร์ในการ "ปฏิรูปใหญ่ครั้งที่ 3" - ระบบแบบญี่ปุ่่นที่กำลังจะหมดประสิทธิภาพไปเอง - จะปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจได้อย่างไร - การปฏิรูปการศึกษาเป็นหัวข้อที่สำคัญที่สุด - ประชาชนควรมีความสุขสบายใกล้เคียงกับระดับความเจริญของประเทศ | บทที่ 3 อุปสรรคที่มีต้นเหตุมาจากการเติบโตอย่างรวดเร็วของประเทศต่างๆ ในเอเชีย - ศ.20 เป็นศตวรรษแห่งนวัตกรรม - ปัญ
นำเสนอบทสะท้อนที่ว่าด้วยกำเนิดและการแพร่ขยายของลัทธิชาตินิยม ซึ่งเป็นผลงานชิ้นเอกของ "Benedict Anderson" ครูที่เป็นเพชรน้ำหนึ่งในวงวิชาการสังคมศาสตร์ของโลก หนังสือเล่มนี้จะช่วยเปิดมุมมองความรู้และความคิดของคุณให้กว้างขึ้น รวมทั้งเข้าใจบริบทของความเป็นชาติและชาตินิยมเพิ่มมากขึ้น เหมาะสำหรับนิสิต นักศึกษา และคณาจารย์ ตลอดจนผู้ที่สนใจศึกษาเรื่องราวของสังคมศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง